Skip to main content
Bernama - ผู้เชียวชาญทางด้านการเขียนตัวอักษรญาวีเชื้อสายเกาหลี เริ่มเป็นกังวลกับตัวเขียนญาวี ที่นับวันเริ่มจางหายไปในกลุ่มคนรุ่นใหม่มาเลเซีย
ศาสตราจารย์ ดร.กัง กยอง โซก จากมหาวิทยาลัยแห่งเมืองปูซาน ต่างประเทศศึกษา เริ่มศึกษาวิจัยตัวเขียนญาวีตั้งแต่ปี 1974 (พ.ศ.2517) ถือว่าเป็นจุดเด่นของมาเลเซีย
ปัจจุบันตัวเขียนญาวีถือได้ว่าอยู่ในขั้น “ป่วย” และหากว่ายังคงสภาพต่อไป ในอนาคตอาจสูญหายไปได้
“ผู้เชียวชาญหลายต่อหลายท่านที่ผมรู้จักอยู่ในวัยเกษียณแต่กลับไม่มีใครสามารถที่จะมาทดแทนได้ หากว่าผู้เชียวชาญเหล่านี้เสียไป ใครจะมาสามารถดูแลรักษาตัวเขียนญาวีนี้ได้?” เขากล่าวอย่างชัดเจนด้วยภาษาเมอลายู
เขายังเป็นผู้บรรยายที่มหาวิทยาลัยการศึกษาสุลต่านอิดริส หวังต่อหนังสือพิมพ์ที่พิมพ์โดยอักษรญาวี อย่าง Utusan melayu ที่สามารถต่อลมหายใจใหม่แก่ประชาชนที่สนใจในประเทศนี้ได้
นอกจากนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเช่น สถาบันการแปลประเทศมาเลเซีย (Institut Terjemahan Negara Malaysia และ Dewan Bahasa dan Pustaka จำเป็นที่จะต้องมีบทบาทในการแปลหนังสือหลากหลายเล่มให้เป็นอักษรญาวี ศาสตราจารย์กล่าว
“ในประเทศเกาหลี เราทำการแปลหนังสือหลายเล่มเป็นภาษาเกาหลีเพื่อให้ประชาชนของเรามีความชำนาญมากกว่าภาษาอื่นๆ
ประชาชนชาวมาเลเซียจำเป็นที่จะต้องเรียนการเขียนด้วยตัวอักษรญาวี เพื่อให้แน่ใจว่าพวกเขามีภาคภูมิใจในความเป็นมาเลเซียที่แท้จริง” กล่าวเมื่อตอนเดินทางมามาเลเซียเมื่อ เพื่อวิจัยเก็บข้อมูลเกี่ยวกับอักษรญาวี
หากกล่าวไปแล้วชาวมาเลเซียสมัยนี้มีความคุ้นชินกับการเขียนด้วยตัวอักษรรูมี(โรมัน) และนี่นับได้ว่าเป็นปัจจัยแรกที่ทำให้การเขียนด้วยตัวอักษรญาวีถูกลืมไป
ศาสตราจารย์กยอง โซก กล่าวว่า ระบบการสะกดคำของญาวีปัจจุบันจำเป็นต้องนำกลับมาใช้ด้วยระบบการเขียนญาวีแบบซะบา (Sistem ejaan Jawi Za’ba) ที่สะดวกและง่ายต่อการเรียนการสอน
นี้เป็นพื้นฐานของระบบการเขียนญาวีแบบซะบา ที่มีพื้นฐานเดียวกันกับการเขียนญาวีโบราณ (Jawi Kuno) ที่มาจากตัวอักษรในอัล-กุรอาน
“ตัวเขียนญาวีปัจจุบันเป็นฐาน ส่วนตัวเขียนรูมีนั้น “วิ่ง” มาจากฐานเดิมที่เป็นญาวีโบราณ” เขากล่าว
 
 
نصيب تولسين جاوي سماکين ممبيمبڠکن – فاکر
 
كوالا لومفور ~ سؤرڠ فاكر توليسن جاوي بركتورونن كوريا ملاهيركن كبيمبڠن توليسن ايت سماكين د لوفكن تراوتام دالم كلاڠن جنراسي مودا دمليسيا.
 
فروف. دوکتور کڠ  کيوڠ  سيوق داري Pusan University of Foreign Studies مولا مڠكاجي توليسن جاوي سجق ١٩٧٤ م. دان مڠڠڬفڽ سباڬي ساتو كؤنيكن ميليك مليسيا.
 
منوروتڽ توليسن جاوي سدڠ "تنت" دان جيك كأدأن ايت برتروسن اي موڠكين فوفوس ساتو هاري ننتي.
 
"رامي فاكر يڠ ساي كنالي سوده برسارا تنفا اد فڠڬنتي. بيلا فاكر سوده تياد سياف اكن منروس اوسها فمليهارأن توليسن جاوي؟" كاتڽ يڠ فاسيه بربهاس ملايو.
 
بليو يڠ جوڬ فنشرح ديونيبرسيتي فنديديكن سلطان ادريس برهارف اخبار يڠ ݢونکن توليسن جاوي سفرتي اوتوسن ملايو دبري نفس بهارو انتوق مناريك مينت رعية د نݢار اين.
 
سلأين ايت فيهق ترليبت سفرتي إنستيتوت ترجمهن نݢار مليسيا دان ديوان بهاس دان فوستاك فرلو ممأينكن فرانن منترجمهكن لبيه باڽف بوكو كتوليسن جاوي, كاتڽ
 
"دكوريا كامي ترجمه باڽف بوكو كبهاس دان توليسن كوريا كران ماهو رعية كامي لبيه مڠواسأي بهاس دان توليسن كوريا درفد بهاس٢ لأين".
 
"مك رعية مليسيا فرلو ممفلاجري توليسن جاوي باڬي ممستيكن مريك ممفوڽاي جاتي دري مليسيا يڠ سجاتي" كاتڽ يڠ داتڠ كمليسيا فد ١٩٨٤م. انتوق ملاكوكن كاجين ترهدف توليسن جاوي.
 
منوروتڽ رعية كيني لبيه سلسا دڠن توليسن رومي اين منجادي فكتور اوتام توليسن جاوي سماكين دلوفكن.
 
کيوڠ  سيوق بركات سيستيم إيجأن جاوي سكاراڠ فرلو دكمباليكن كفد سيستيم إيجأن جاوي زأبا يڠ لبيه ريڠكس دان موده انتوق دفلاجري.
 
"اين كران إيجأن جاوي زأبا مڠڬونكن اساس يڠ سام دڠن توليسن جاوي كونو براصل درفد القرأن".
 
"توليسن جاوي سكاراڠ اساسڽ ادله توليسن رومي يڠ "لاري" درفد اساس توليسن جاوي كونو" جلسڽ ~ Bernama