Skip to main content

เหตุไม่สงบชายแดนใต้ นัยความต่างของรอมฏอนในปีที่ไร้ข้อตกลงยุติความรุนแรง

ในช่วง 10 คืนสุดท้ายของเดือนรอมฎอนโดยเฉพาะเมื่อประมาณ 5 ปีที่แล้ว พบว่าสถิติของสถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้มีความถี่ค่อนข้างสูง แต่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปเมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมาหลังจากที่มีการพูดคุยสันติภาพโดยเริ่มตั้งแต่ปี 2556 และ 2557 ซึ่งช่วงนั้นได้เริ่มกระบวนการพูดคุยฯ โดยใช้เดือนรอมฎอนเป็นข้อตกลงร่วมกันอย่างลับๆ ว่าจะยุติความรุนแรงจากทั้งสองฝ่าย

ชุมคน ชุมชน คนใต้: สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตที่ควรจะเป็น

29 มิ.ย. 2559 ในงาน “จับปลาต้องลงน้ำ: 30 ปี กับบทเรียนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนภาคใต้” ณ สถาบันทักษิณคดีศึกษา บนเกาะยอกลางทะเลสาบสงขลา อ.เมือง จ.สงขลา โดยจะมีนักพัฒนาเอกชน (NGOs) แกนนำชุมชน ภาคประชาสังคม นักวิชาการ นักศึกษา ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศิลปินเพื่อสังคม สื่อมวลชนในภาคใต้ และส่วนหนึ่งจากทั่วประเทศเข้าร่วมประมาณ 300 คน

ผศ.ศรีสมภพ ชี้คนรุ่นใหม่ชายแดนใต้ยังไม่มีเงื่อนไขใช้ความรุนแรงขานรับ ISIS

ทีมข่าวพลเมืองภาคใต้ สัมภาษณ์ ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้อำนวยการศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ในประเด็นการขยายแนวคิดสุดโต่ง

เมื่อก้าวข้ามหนึ่งร้อยเดือนของสถานการณ์จังหวัดชายแดนใต้: เรากำลังจะไปทางไหน?

 
ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มอ. ปัตตานี