Skip to main content

ชายแดนใต้/ปาตานี 2547-2564: ก้าวเข้าปีที่สิบเก้า สันติภาพจะเดินหน้าไปถึงไหนในปี 2565?

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้
สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

 

ใครคือชาวมลายูพุทธศรีวิชัยและลังกาสุกะ?

อัศโตรา ชาบัต*
 
ชาวพุทธใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ไม่ใช่ทั้งหมดเป็นชาวไทยมาจากแผ่นดินสยาม สมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี-รัฒนะโกสินทร์ แต่พวกเขาเป็นชาวพุทธในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ตอนกลาง และตอนบน เชื่อสายชาวมลายูพุทธศรีวิชัยและชาวมลายูพุทธลังกาสุกะ
 
บางส่วนของชาวไทยพุทธภาคใต้ตอนล่าง ตอนกลาง และตอนบนนั้นเป็นเชื่อสายชาวอินเดีย ชาวทมิฬ ชาวมอญ ชาวขอม ชาวจีนและชาวอื่นๆ ที่เคยตั้งรกราก หรือปกครองแผ่นดินปลายด้ามขวานก่อนและหลังอาณาจักรศรีวิชัยและลังกาสุกะไปอีก
 

สันติ(ที่มองเห็น)ภาพ : ดุลยปาฐกว่าด้วย "ภาพ" การพูดคุยสันติภาพรอบใหม่

[ ViViPEACE ] สันติ(ที่มองเห็น)ภาพ  : ดุลยปาฐกว่าด้วย "ภาพ" การพูดคุยสันติภาพรอบใหม่

28 กุมภาพันธ์ 2558
หอประชุม ชั้น 2 คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
 
ภาพถ่ายโดย เครือข่ายช่างภาพชายแดนใต้ DSP

 

ภาพบรรยากาศ พิธีเปิดงานศิลปกรรมร่วมสมัย "Seni Budaya Melayu di Selatan Thai"

ภาพบรรยากาศพิธีเปิดงาน นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย ชุด "Seni Budaya Melayu di Selatan Thai ศิลปวัฒนธรรมมลายูในภาคใต้"
วันที่ 9 ธันวาคม 2557 ณ หอศิลป์สันติภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
โดย นิทรรศการฯ จะจัดแสดงและเปิดให้ชม ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 ถึง 15 มกราคม 2558
จัดโดยกลุ่ม South Free Art Group และ เพื่อนๆ ศิลปินในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้

- ภาพถ่ายโดย 'kroowinai jaidee' -

“สันติภาพ/สันติสุข”การช่วงชิงวาทกรรมเพื่อกำหนดบริบทความขัดแย้ง

 อาบีบุสตา ดอเลาะ

หลังจากการพูดคุยสันติภาพระหว่างรัฐไทยกับกลุ่มขบวนการยุติลงเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2556 ประกอบกับการมาของรัฐบาลทหารโดยมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรีจากการทำรัฐประหารรัฐบาลพลเรือนของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร  รัฐไทยมีการนำคำว่า สันติสุข มาเกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาปาตานีอย่างมีนัยยะสำคัญ ทั้งที่ก่อนหน้านี้มีการใช้คำว่าสันติภาพอย่างแพร่หลายทั้งจากนักวิชาการ ภาคประชาสังคม นักศึกษา กลุ่มขบวนการหรือแม้กระทั้งจากรัฐไทยเอง

“ยิง ตาย จ่าย จบ” การเยียวยาที่ทำลายกระบวนการยุติธรรม

อาบีบุสตา ดอเลาะ  

การเยียวยาคือนโยบายหนึ่งที่รัฐใช้ในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนใต้ เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความสูญเสียจากเหตุความรุนแรง แม้ความสูญเสียต่อชีวิต ร่างกายและจิตใจ ไม่อาจตีค่าแลกเป็นเงินหรือทรัพย์สินได้ กระนั้นการเยียวก็ยังมีความสำคัญที่จะชดเชยค่าเสียหายและเป็นกำลังใจให้กับผู้สูญเสีย การคัดค้านโยบายเงินเยียวยาแบบหลังชนฝาคงไม่ถูกต้องนัก เพียงแต่ว่านอกจากการเยียวยาแล้ว รัฐต้องไม่ละเลยต่อการอำนวยความยุติธรรมในมิติอื่นร่วมด้วย

อัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลวง : ประสบการณ์ของการค้นหาทางเลือกบนเส้นทางสันติวิธี

ประสบการณ์ของการค้นหาทางเลือกบนเส้นทางสันติวิธี

อัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลวง
ผู้อำนวยการโครงการหลักสูตรเสริมสังคมสันติสุขจังหวัดชายภาคใต้ สถาบันพระปกเกล้า

งานเปิดตัวหนังสือ The House of The Raja (เรือนราชา) ผลงานของ 'ซาบี้ โคมาส'

งานเปิดตัวหนังสือ The House of The Raja (เรือนราชา) ผลงานของ 'ซาบี้ โคมาส'
วันที่ 16 กันยายน 2557 ณ ร้านหนังสือบูคู
 
- ภาพถ่ายบรรยากาศงานฯ โดย อนุมัติ รัตนพันธ์, ชัยรัตน์ จิโรจน์มนตรี, ปิยศักดิ์ อู่ทรัพย์ -