Skip to main content

บทบาทภาคประชาสังคมที่หายไป?

ด้วยบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้เกิดคำถามตามมาว่ากระบวนการสร้างสันติภาพในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้นหลังจากนี้จะเป็นอย่างไร พลเมืองข่าวพูดคุยในประเด็นนี้กับ

นายอนุกูล อาแวปูเตะ ประธานศูนย์ทนายความมุสลิม จังหวัดปัตตานี

นายรอมฎอน ปันจอร์ จากศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

ยกฟ้อง 2 อดีตทหารพราน สะเทือนถึงการพูดคุยสันติสุข

เมื่อไม่นานมานี้ เกิดเหตุคาใจคนในพื้นที่ปาตานี/ชายแดนใต้ กรณีศาลจังหวัดนราธิวาส อ่านคำพิพากษาเมื่อวันจันทร์ที่ 26 ม.ค.58 ยกฟ้องอดีตทหารพราน 2 นายในคดียิงเด็ก 3 ศพ ตระกูลมะมันที่บ้านบลูกาแปเราะ อ.บาเจาะจ.นราธิวาส ทำให้สังคมสาธารณะทั่วไปที่ติดตามสถานการณ์ในพื้นที่มีปฏิกิริยาแบบต้องอึ้งและทึ่งในเวลาเดียวกันอย่างพร้อมหน้ากันโดยไม่ต้องนัดหมาย เพราะคงไม่มีใครกล้าปฏิเสธได้ว่าหลังจากที่อดีตทหารพรานทั้งสองคนดังกล่าวถูกทางตำรวจติดตามจับกุมได้และต่อมาก็ให้การรับสารภาพว่าเป็นผู้ก่อเหตุจริงนั้น ความเข้าใจตรงกันของทุกคนต่อฆาตรกรใจโหดเหี้ยมครั้งนี้ก็คืออดีตทหารพรานนั้นเอง

วิจารณ์หนังสือ "บทเรียนสันติภาพ : เรียนรู้กระบวนการสันติภาพในประสบการณ์ความขัดแย้งร่วมสมัย"

ชื่อหนังสือ     “บทเรียนสันติภาพ :  เรียนรู้กระบวนการสันติภาพในประสบการณ์ความขัดแย้งร่วมสมัย” (Experiences of Peacebuilding : Learning the peace process in contemporary conflicts)

เนื้อหาโดย  แอนเดรีย เค. โมลนาร์, ซูซาน ดี. รัสเซล, ไอแซค เคน, ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี,  โนอาห์ ซาลาเมห์, พิษณุ สรรพโกตา, นอร์เบิร์ต โรเปอร์ส

10 เเนวคิดพื้นฐานเพื่อเข้าใจกระบวนการสันติภาพ

สรุปเนื้อหาและกิจกรรมในการอบรมเชิงปฏิบัติการ
พลังวิทยุชุมชนกับกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี

“สันติภาพ/สันติสุข”การช่วงชิงวาทกรรมเพื่อกำหนดบริบทความขัดแย้ง

 อาบีบุสตา ดอเลาะ

หลังจากการพูดคุยสันติภาพระหว่างรัฐไทยกับกลุ่มขบวนการยุติลงเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2556 ประกอบกับการมาของรัฐบาลทหารโดยมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรีจากการทำรัฐประหารรัฐบาลพลเรือนของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร  รัฐไทยมีการนำคำว่า สันติสุข มาเกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาปาตานีอย่างมีนัยยะสำคัญ ทั้งที่ก่อนหน้านี้มีการใช้คำว่าสันติภาพอย่างแพร่หลายทั้งจากนักวิชาการ ภาคประชาสังคม นักศึกษา กลุ่มขบวนการหรือแม้กระทั้งจากรัฐไทยเอง

ห้องเรียนสันติภาพ #2: ฟัง ‘ชาเดีย มัรฮาบัน’ นักเคลื่อนไหวสตรีในกระบวนการสร้างสันติภาพของอาเจะห์

ฟารีดา ปันจอร์
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD)
 

วันที่  24 กันยายน 2557  สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ได้เชิญ ชาเดีย มัรฮาบัน นักเคลื่อนไหวสตรี จากอาเจะห์ ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์การทำงานของผู้หญิงอาเจะห์ในกระบวนการสร้างสันติภาพ

ขอเชิญร่วมงาน กิจกรรมรณรงค์ Peace Photos Exhibition in Public Space Project ผ่านนิทรรศการภาพถ่ายสาธารณะ ‘ชีวิตในรอมฎอน’

 

กิจกรรมรณรงค์ Peace Photos Exhibition in Public Space Project ผ่านนิทรรศการภาพถ่ายสาธารณะ ‘ชีวิตในรอมฎอน’

วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน 2557 เวลา 16.00 -18.00 น. ณ มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี

จัดโดย ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ และเครือข่ายช่างภาพชายแดนใต้

ขอเชิญชวนผู้สนใจทุกท่านเข้าร่วมกิจกรรมและรับชมผลงานภาพถ่ายบางส่วนก่อนที่จะทยอยนำไปจัดแสดงสาธารณะต่อไป 

 

(กำหนดการ อยู่ด้านล่างสุด)

ทำไม "เปลี่ยนศรี" สามารถเปลี่ยนนโยบายความมั่นคงได้

ในสื่อกระแสหลักมีคำถามว่า ระลอกการใช้ความรุนแรงรอบใหม่ที่ปาตานี/จังหวัดชายแดนใต้มีเกี่ยวข้องกับการคืนตำแหน่งให้แก่อดีตเลขาฯ สมช. นายถวิล เปลี่ยนศรี หรือไม่ แน่นอนว่า เราไม่สามารถให้คำตอบที่ชัดเจนต่อคำถามเหล่านี้ เพราะขาดข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือจากฝ่ายผู้กระทำ