Skip to main content

แผนงาน[1]
เวทีนโยบายสาธารณะ
“ชายแดนใต้จัดการตนเอง”
 
โดย
สภาประชาสังคมชายแดนใต้
สนับสนุนโดย
สำนักงานปฏิรูป
 
ภูมิหลังและความเชื่อในการขับเคลื่อน
 
  • ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีหลายสาเหตุปัจจัย ซึ่งสภาประชาสังคมชายแดนใต้เชื่อว่า สาเหตุสำคัญประการหนึ่งคือ ความขัดแย้งเชิงโครงสร้างระหว่างอำนาจรัฐแบบรวมศูนย์ของส่วนกลางกับการไร้อำนาจบริหารจัดการตนเองอย่างแท้จริงของท้องถิ่น จึงมีความเห็นว่า ควรลดอำนาจที่รวมศูนย์จากส่วนกลางลง และเพิ่มอำนาจการบริหารจัดการตนเองของท้องถิ่นให้มากขึ้น โดยการกระจายอำนาจการตัดสินใจให้แก่ชุมชนท้องถิ่น

  • ที่ผ่านมามีความพยายามของหลายกลุ่มที่เสนอรูปแบบการกระจายอำนาจ แต่คนส่วนใหญ่ในพื้นที่ยังไม่ได้รับรู้ และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นอย่างแท้จริงและทั่วถึง

  • สภาประชาสังคมชายแดนใต้จึงอาสาเป็นสื่อกลางในการเปิดโอกาสให้ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่มีส่วนร่วมเพื่อแสดงความคิดเห็นต่อรูปแบบการกระจายอำนาจ และออกแบบบ้านของตนเองที่จะนำไปสู่การจัดการตนเองของชายแดนใต้อย่างสอดคล้องเหมาะสม ด้วยการจัดเวทีสาธารณะ โดยใช้กระบวนการวิจารณญานสาธารณะ

 
วัตถุประสงค์
  • เพื่อเปิดพื้นที่กลางในการระดมความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของประชาชนทุกภาคส่วนต่อรูปแบบทางเลือกการกระจายอำนาจ ที่สอดคล้องและสะท้อนความต้องการที่แท้จริงของประชาชน

  • เพื่อให้ประชาชนชายแดนใต้มีความตื่นตัว มีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางและอนาคตของตนเอง สังคมในจังหวัดชายแดนใต้

  • เพื่อประมวลข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเรื่องการกระจายอำนาจเผยแพร่สู่สาธารณะ และผลักดันสู่ระดับนโยบาย

 
แผนงานการจัดเวที
 
เวทีทั้งสิ้น 150 เวที โดยการจัดเวที มี 2 ลักษณะคือ
  1. เวทีกลุ่มทั่วไป จำนวน 113 เวที
  2. เวทีกลุ่มเฉพาะ จำนวน 37 เวที
 
เวทีกลุ่มทั่วไป 113 เวที
 
  • กระจายครอบคลุมพื้นที่ 37 อำเภอ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 4 อำเภอสงขลา)
  • ครอบคลุมพื้นที่ระดับตำบล โดยมีผู้เข้าร่วมไม่เกิน 40 คนต่อเวทีตำบลโดยมี องค์ประกอบของผู้เข้าร่วม ดังนี้
- ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อบต. (ไม่เกิน 10 คน)
      - ผู้นำศาสนา ผู้นำธรรมชาติ (โต๊ะอิหม่าม แกนนำสตรี ปราชญ์ ชาวบ้าน แกนนำ เยาวชน ฯลฯ) (ไม่เกิน 10 คน)
      - ชาวบ้านทั่วไป (อย่างน้อย 20 คน)
  • พื้นที่และกลุ่มเป้าหมายในการจัดเวที
 
ปัตตานี
 

อำเภอ
ตำบล
ทีมวิทยากร
จำนวนเวที
เมือง
1. สะบารัง
2. บานา
3. ตะลุโบ๊ะ
4. รูสะมิแล
- เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้
- เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้
- ศูนย์ประสานงานสมัชชาสุขภาพ จ.ปัตตานี
- ศูนย์ประสานงานสมัชชาสุขภาพ จ.ปัตตานี
4
ยะรัง
5. เมาะมาวี
6. ปิตูบุดี
7. เขาตูม
8. วัด
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ปัตตานี)
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ปัตตานี)
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ปัตตานี)
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ปัตตานี)
4
ยะหริ่ง
9. บางปู
10. แหลมโพธิ์
11. ราตาปันยัง
12. ตะโละกาโปร์
- สถาบันอัสสลาม
- โครงการวิจัยพื้นที่ชุ่มน้ำ มอ.ปัตตานี
- เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้
- เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้
4
สายบุรี
13. ปะเสยะวอ
14. ละหาร
15. เตราะบอน
16. แป้น
- สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
- สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
- สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
- สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
4
ปะนาเระ
17. พ่อมิ่ง
18. น้ำบ่อ
- สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
- ชุมชนศรัทธา
2
มายอ
19. ลุโบะยือไร
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ปัตตานี)
1
โคกโพธิ์
20. โคกโพธิ์
21. มะกรูด
- ชุมชนศรัทธา
- กองทุนเกื้อหนุนครอบครัวที่ทำงานเพื่อสังคมชายแดนใต้
2
ไม้แก่น
22. ตะโละไกรทอง
23. ดอนทราย
- สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
- ชุมชนศรัทธา
2
หนองจิก
24. บ่อทอง
25. บางเขา
26. ท่าด่าน
27. ท่ากำชำ
- ศูนย์ประสานงานสมัชชาสุขภาพ จ.ปัตตานี
- ศูนย์ประสานงานสมัชชาสุขภาพ จ.ปัตตานี
- ชุมชนศรัทธา
- โครงการวิจัยพื้นที่ชุ่มน้ำ มอ.ปัตตานี
4
กะพ้อ
28. ปล่องหอย
29. ตะโละดือรามัน
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
- ชุมชนศรัทธา
2
ทุ่งยางแดง
30.น้ำดำ
31.พิเทน
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
- ชุมชนศรัทธา
2
แม่ลาน
32. ม่วงเตี้ย
33. แม่ลาน
- ชุมชนศรัทธา
- ศูนย์ประสานงานสมัชชาสุขภาพ จ.ปัตตานี
2
 
ยะลา
 

อำเภอ
ตำบล
ทีมวิทยากร
จำนวนเวที
เมือง
34.ท่าสาป
35. บุดี
36. ยุโป
37. เทศบาลนคร
38. ลำใหม่
39. พร่อน
40. สะเตงนอก
41. บานังสาเรง
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยะลา)
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยะลา)
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
- กองทุนเกื้อหนุนครอบครัวที่ทำงานเพื่อสังคมชายแดนใต้
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
- สถาบันอัสสลาม
- สถาบันอัสสลาม
8
รามัน
42.กอตอตือร๊ะ
43. บาโงย
44. โกตาบารู
45. บือมัง
46. ยะต๊ะ
47. กาลอ
48. อาซ่อง
49.ท่าธง
50. วังพญา
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยะลา)
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยะลา)
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
- โครงการวิจัยพื้นที่ชุ่มน้ำ มอ.ปัตตานี
- โครงการวิจัยพื้นที่ชุ่มน้ำ มอ.ปัตตานี
- กองทุนเกื้อหนุนครอบครัวที่ทำงานเพื่อสังคมชายแดนใต้
9
ยะหา
51. บาโงยซิแน
52. ปะแต
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยะลา)
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
2
กาบัง
53. กาบัง
- ชุมชนศรัทธา
1
บันนังสตา
54. บ้านกาสัง
- สถาบันอัสสลาม
1
กรงปินัง
55. ปูโรง
56. สะเอะ
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
2
ธารโต
57. คีรีเขต
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา
1
เบตง
58. ธารน้ำทิพย์
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
1
 
นราธิวาส
 

อำเภอ
ตำบล
ทีมวิทยากร
จำนวนเวที
เมือง
59. โคกเคียน
60. บางนาค
61. ลำพู
62. กะลุวอ
- กลุ่มยือริงา (นครินทร์และทีม)
- สถาบันอัสสลาม
- ชุมชนศรัทธา
- กลุ่มยือริงา (นครินทร์และทีม)
4
ตากใบ
63. เกาะสะท้อน
64. โฆษิต
65.เจ๊ะเห
- ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาฯ
- ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาฯ
- สถาบันอัสสลาม
3
สุไหงโกลก
66. เทศบาลสุไหงโกลก
67. ปาเสมัส
- ชุมชนศรัทธา
- ชุมชนศรัทธา
2
ระแงะ
68. มะรือโบตก
69. ตันหยงมัส
70. กาลิซา
71. เฉลิม
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
- เครือข่ายบัณฑิตเสริมสร้างการมีงานทำ
- เครือข่ายบัณฑิตเสริมสร้างการมีงานทำ
4
สุไหงปาดี
72.โต๊ะเด็ง
73. สากอ
- ชุมชนศรัทธา
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
2
แว้ง
74. แว้ง
75. เอราวัณ
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
- ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาฯ
2
เจาะไอร้อง
76. จวบ
77. บูกิต
- ชุมชนศรัทธา
- ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาฯ
2
บาเจาะ
78. บาเระใต้
79. บาเจาะ
80.ลุโบ๊ะสาวอ
81.บาลุกาสาเมาะ
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
- ชุมชนศรัทธา
-เครือข่ายบัณฑิตเสริมสร้างการมีงานทำ
- เครือข่ายบัณฑิตเสริมสร้างการมีงานทำ
4
ยี่งอ
82. ยี่งอ
83. ลูโบ๊ะบือซา
84. ลูโบ๊ะบายะ
85. ตาปอเยาะ
- กลุ่มยือริงา (นครินทร์และทีม)
- กลุ่มยือริงา (นครินทร์และทีม)
- กลุ่มยือริงา (นครินทร์และทีม)
- เครือข่ายบัณฑิตเสริมสร้างการมีงานทำ
4
สุคิริน
86 มามง
87.เกียร์
88.สุคิริน
-  มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
- ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาฯ
- ชุมชนศรัทธา
3
รือเสาะ
89. สาวอ
90. โคกสะตอ
91. บาตง
92. สุวารี
93. รือเสาะออก
- โครงการวิจัยพื้นที่ชุ่มน้ำ มอ.ปัตตานี
- สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
- สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
- วิทยาลัยประชาชน
- วิทยาลัยประชาชน
5
ศรีสาคร
94. ตะมะยูง
95. เชิงคีรี
96.ซากอ
- กลุ่มยือริงา (นครินทร์และทีม)
-กลุ่มยือริงา (นครินทร์และทีม)
-กลุ่มยือริงา (นครินทร์และทีม)
3
จะแนะ
97. จะแนะ
98. ผดุงมาศ
99. บองอ
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้
- สถาบันอัสสลาม
- ชุมชนศรัทธา
3
 
สงขลา
 

อำเภอ
ตำบล
ทีมวิทยากร
จำนวนเวที
จะนะ
100. บ้านนา
101. ตลิ่งชัน
- ศูนย์อัลกุรอานและภาษาโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ
- ศูนย์อัลกุรอานและภาษาโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ
2
นาทวี
102. นาทวี
- ศูนย์อัลกุรอานและภาษาโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ
1
สะบ้าย้อย
103. ทุ่งพอ
104. จะแหน
- ศูนย์อัลกุรอานและภาษาโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ
- ศูนย์อัลกุรอานและภาษาโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ
2
เทพา
105. สะกอม
106.เทพา
107. วังใหญ่
- ศูนย์อัลกุรอานและภาษาโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ
- ศูนย์อัลกุรอานและภาษาโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ
- กองทุนเกื้อหนุนครอบครัวที่ทำงานเพื่อสังคมชายแดนใต้
3
 
 
สรุป
- เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ 4 เวที
- ศูนย์ประสานงานสมัชชาสุขภาพ จ.ปัตตานี 5 เวที                
- สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย 10 เวที
- สถาบันอัสสลาม 7 เวที
- โครงการวิจัยพื้นที่ชุ่มน้ำ มอ.ปัตตานี 5 เวที
- สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา 8 เวที
- ชุมชนศรัทธา 16 เวที
- กองทุนเกื้อหนุนครอบครัวที่ทำงานเพื่อสังคมชายแดนใต้ 4 เวที
- มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้ 10 เวที
- ศูนย์ฟ้าใสเครือข่ายเยาวชนจังหวัดยะลา 11เวที
-  กลุ่มยือริงา (นครินทร์และทีม) 8 เวที
- ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาฯ 5 เวที
- เครือข่ายบัณฑิตเสริมสร้างการมีงานทำ 5 เวที
- ศูนย์อัลกุรอานและภาษาโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ 7 เวที
- วิทยาลัยประชาชน 2 เวที
รวม 107 เวที
 
เวทีกลุ่มเฉพาะ จำนวน 40 เวที
  • ผู้เข้าร่วมประมาณ 15-20 คน / เวที
  • กลุ่มเป้าหมายในการจัดเวที
 


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนเวที
1. เยาวชน
- นักศึกษามอ.ปัตตานี
- นักศึกษามอย.
- นักศึกษาม.นราธิวาสฯ
- นักศึกษามอ.หาดใหญ่
- เยาวชนในชุมชน (อ.เมืองยะลา, อ.จะนะ, อ.เมืองปัตตานี)
7
(1)
(1)
(1)
(1)
(3)
2. หน่วยงานความมั่นคง
- ทหาร
- ตำรวจ
- ปกครอง
3
(1)
(1)
(1)
3. สตรี
1
4. นักสิทธิ,นักกฎหมาย
1
5. ผู้นำศาสนา
(พระ, โต๊ะอิหม่าม,โต๊ะครู,อุสตาซ,กรรมการอิสลาม)
4
 
6. ผู้นำชุมชน
3
7. ข้าราชการ
(ฝ่ายงานพัฒนา, สาธารณสุข,ฯลฯ)
3
 
8. นักธุรกิจ ( 3 จังหวัด)
2
9. นักวิชาการ
4
10. NGO, CSO
1
11. สื่อ (กระแสหลัก,ทางเลือก)
1
12. นักการเมืองระดับชาติ
1
13. การเมืองท้องถิ่น
4
14. รัฐวิสาหกิจ
1
15. คนพุทธ
- ในเมือง
- ในชนบท
3
(1)
(2)
16. กลุ่มคนที่เห็นต่าง
1
รวม
40

 

 
 


[1] ถอดมาจากเอกสาร “คู่มือบริหารจัดการเวทีนโยบายสาธารณะ ‘ชายแดนใต้จัดการตนเอง’” (เอกสารอัดสำเนา), 2555.